ขอสอบเรื่อง สุนทรียภาพทางวรรณคดี
๑. ขอใดใชบรรยายโวหารที่มีอธิบายโวหารประกอบ (มี.ค. ๔๓)
๑. ถาเห็นดอกป บครั้งใดตองตรงเขาไปเก็บดอกที่รวงหลนปบสีขาวนี้เรียกวาป บฝรั่งสวนป บอีกชนิดหนึ่ง ทางเหนือเรียกกวากาสะลอง
๒. ฉันเดินหาซื้อบานจนไดบานขนาดกําลังพอดี มีที่ตั้งถูกใจตัวบานโอบลอมดวยเนินเขาเตี้ยๆมีหญาสีเขียวขจี
๓. ลูกตะขบขนาดประมาณปลายนิ้วกอยลูกกลมๆปองๆผิวเตงเปลือกบางมี่รสหวานจัดขางในมีเมล็ดเล็กๆสี
ขาวนวล
๔. ตนมะมวงแผกิ่งกานสาขาใหเงารมรื่นแผครึ้มไปทั่วลานดิน เด็กๆนั่งเลนเปนกลุมๆใตตน
๒. “มารยาทเรียบเสี่ยมสาร เสงี่ยมเงื่อนงามนอ” (มี.ค. ๔๓)
บุคคลในขอใดมีลักษณะตรงกับคําประพันธขางตนมากที่สุด
๑. นารินประพฤติงามทั้งกิริยาและวาจา ๒. กระถินเปนคนเรียบรอยสงบเสงี่ยมเจียมตัว
๓. ทองสรอยมีกิริยาดีและมีวิธีพูดที่นาสนใจ ๔. เพียงดาวเปนคนสวยและเรียบรอย
๓. คําที่ขีดเสนใตขอใดไมใชภาพพจนนามมัย (มี.ค. ๔๓)
๑. ถาแพลงคงปรับทับทวี เลือดเนื้อเทานี้เปนเงินทอง
๒. ยุงริ้นมันกินมาหลายวัน อุตสาหใหนองนั้นไดขี่มา
๓. ขุดเผือกมันสูกันมาตามจน พักรอนผอนปรนมาในปา
๔. ถึงเมืองพอมีที่จะอยู ก็มาจูจากซ้ำน้ำตาตก
๔. ขอใดมีลักษณะเปนการเขียนแบบบรรยาย ( ต.ค. ๔๓)
๑. ฝนฟากระหน่ำพายุซ้ำกรรโชก ๒. แสนวิปโยคอนิจจาน้ำตาเอย
๓. ทุกสิ่งลวนไมเปนเหมือนเชนเคย ๔. ตัวเราเอยแสนอาภัพอับปญญา
๕. ลักษณะการประพันธที่เดนที่สุดของขอความตอไปนี้คือขอใด ( ต.ค. ๔๓)
“จากความวุนวูวามสูความสวาง จากความมืดมาสวางอยางเฉิดฉัน
จากความรอนระอุเปนเย็นนิรันดร ไมรูพลันพลิกเห็นเปนความรู”
๑. การเลนเสียงสัมผัส ๒. การซ้ำคําเพิ่มความหมาย
๓. การเลนคําหลายความหมาย ๔. การใชคําที่มีความหมายขัดแยงกัน
๖. คําประพันธตอไปนี้ขอใดมีวิธีการพรรณนาตางจากขออื่น ( ต.ค. ๔๓ )
๑. พื้นผนังหลังบัวที่ฐานบัทม เปนครุฑอัดยืนเหยียบภุชงคขยํา
๒. หยิกขยุมกุมวาสุกรีกํา กินนรรํารายเทพประนมกร
๓. ใบระกาหนาบันบนชั้นมุข สุวรรณสุกเลื่อมแกวประภัสสร
๔. ดูยอดเยี่ยมเทียมยอดยุคนธร กระจังซอนแซมใบระกาบัง
๗. คําประพันธตอไปนี้ใชภาพพจนตามขอใด ( ต.ค. ๔๓ )
“ฉันมองคลื่นรื่นเรเขาเหฝง พร่ำฝากฝงภักดีไมมีสมอง
มองดาวเฟยมเยี่ยมพักตรลักษณลํายอง จากคันฉองชลาลัยใสสะอาง”
๑. บุคคลวัตและอุปลักษณ ๒. สัญลักษณและอติพจน
๓. บุคคลวัตและสัญลักษณ ๔. อุปลักษณและอติพจน
๘. การพรรณนาเสียงในขอใดใหอารมณตางจากขออื่น ( ต.ค. ๔๓ )
๑. เสียงสกุณารองกองกึกใหหวั่นหวาด
๒. เสียงชะนีรองอยูโหวยโวยโวยวิเวกวะหวามอก
๓. ทั้งพญาคชสารชาติฉันทันตทะลึ่งถลันรองวะแหวๆ
๔. ทั้งพญาพาฬมฤคราชเสือโครงคะครางครึ้มกระหึ่มเสียง
ใชคําประพันธตอไปนี้ตอบคําถามขอ ๙ – ๑๐
ก. ถึงสามโคกโศกถวิลถึงปนเกลา พระพุทธเจาหลวงบํารุงซึ่งกรุงศรี
ประทานนามสามโคกเปนเมืองตรี ชื่อปทุมธานีเพราะมีบัว
ข. พฤกษาสวนลวนไดฤดูดอก ตระหงานงอกริมกระแสแลสลาง
กลวยระกําอัมพาพฤกษาปราง ตองน้ำคางชอชุมเปนพุมพวง
ค. ที่ทายบานศาลเจาของชาวบาน บวงสรวงศาลเจาผีบายศรีตั้ง
เห็นคนทรงปลงจิตอนิจจัง ใหคนทั้งปวงหลงลงอบาย
ง. ถึงบานงิ้วเห็นแตงิ้วละลิ่วสูง ไมมีฝูงสัตวสิงกิ่งพฤกษา
ดวนหนามดกรกดาษระดะตา นึกก็นากลัวหนามขามขามใจ
๙. คําประพันธในขอใดไมเปน “กระจกสองภาพทางวัฒนธรรม” ( ต.ค. ๔๓ )
๑. ขอ ก ๒. ขอ ข ๓. ขอ ค ๔. ขอ ง
๑๐. ขอใดไมแสดงอารมณของผูประพันธ ( ต.ค. ๔๓ )
๑. ขอ ก ๒. ขอ ข ๓. ขอ ค ๔. ขอ ง
๑๑. ขอใดไมใชการพรรณนาฉาก ( ต.ค. ๔๓ )
๑. หลอนจะตองอยูที่นี่และตายบนธรณีผืนนี้
๒. รางทะมึนบึกบึนของเขาตัดเดนกับขอบฟาอันเวิ้งวาง
๓. เสียงหวีดของรถไฟกองกรีดขึ้นในความสงัดของราตรี
๔. ที่นี่คือนรกเต็มดวยความรอนแหงผากและฝุนบาๆ
๑๒. คําประพันธตอไปนี้ใชศิลปะการประพันธเดนที่สุดตามขอใด ( มี.ค. ๔๔)
“แลถนัดในเบื้องหนาโนนก็เขาใหญยอดเยี่ยมโพยมอยางพยับเมฆมีพรรณเขียวขาวดําแดงดูดิเรกดั่ง
รายรัตนนพมณีแนมนาใครชมครั้นแสงพระสุริยะสองระดมก็ดูเดนดังดวงดาววาวแวววะวาบๆที่เวิ้งวุง
วิจิตรจํารัสจํารูญรุงเปนสีรุงพุงพนเพียงคัคนัมพรพื้นนภากาศ”
๑. สัมผัสสระ ๒. สัมผัสพยัญชนะ
๓. การใชคําอัพภาส ๔. การหลากคํา
๑๓. ขอใดใชภาพพจนหลายชนิด ( มี.ค. ๔๔)
๑. ธรรมชาติคือวิหาร ที่เสาตระการมีชีวา
บางครั้งเอยวาจา อันลึกลับและสับสน
๒. โฉมสองเหมือนหยาดฟา ลงดิน
งามเงื่อนอัปสรอินทร สูหลา
๓. สูงระหงทรงเพรียวเรียวรูด งามละมายคลายอูฐกะหลาปา
พิศแตหัวตลอดเทาขาวแตตา ทั้งสองแกมกัลยาดังลูกยอ
๔. ณยามสายัณหตะวันยิ่งยอย แนะเรงเทาหนอยทยอยเหยียบหนา
ตะแลกแตกแตกจะแหลกแลวจา กระเดงรีบมาเถอะรับขาวไป
๑๔. ขอใดมีเนื้อหาของความเปรียบตางจากขออื่น ( มี.ค. ๔๔)
๑. แลวเทวัญวางจันทะวงศแอบ ใหนอนแนบเคียงเขนยขนิษฐา
พลางภิรมยชมสองกษัตรา ดังดาราวางเรียงไวเคียงกัน
๒. พิศพี่ผองเพียงสุริยฉัน พิศนองเพียงจันทรสองปะทะรัศมี
๓. พิศไทไทวาไท ทินกร
พิศออนคือศศิธร แจมฟา
๔. งามดังสุริยันมะลันตอน เคียงดวงศศิธรมะลอนฉู
จะไหนวิไลกระตู สมสองครองคูจะลูเจ
๑๕. คําประพันธตอไปนี้ใชภาพพจนตามขอใด
“เมฆขาวหนาวเดือนดาว ออมหาวหอมลอมจันทรหมอง
น้ำคางตกเนืองนอง ตองน้ำตาบาซึมดิน”
๑. นามนัยและอติพจน ๒. อติพจนและบุคคลวัต
๓. บุคคลวัตและนามนัย ๔. อุปลักษณและอติพจน
๑๖. ลักษณะการพูดของขอความตอไปนี้ตรงตามขอใดที่สุด
“พระพุทธเจาขาซึ่งทรงพระกรุณาจะใหชาลีนี้ออกไปรับเสด็จเกลือกจะทรงเคลือบแคลงระแวงวาเปนความเท็จไมเชื่อฟงอันคําเด็กนี้หรือผูใหญใครจะหวังเอาเปนสัตยจริงเห็นพระปตุรงคจะทรงเกรงกริ่งจะไมคืนนคร”
๑. พูดใดพูดที่รู จริงจัง ๒. พูดเพราะไดตริตรอง รอบคอบ
๓. พูดเพื่อมโนหวัง ประโยชน ๔. พูดถูกใครจะตอบ คัดคานผิดเอง
๑๗. ขอใดไมใชการกลาวเชิงเปรียบเทียบ
๑. พระปนภพกุเรปนกรุงศรี ๒. รํารายเปนกระบวนหวนหัน
๓. วางกองเยื้องกันเปนฟนปลา ๔. ไวเปนขาใตเบื้องบทมาลย
๑๘. ขอใดใหกลวิธีการประพันธตางจากขออื่น
๑. ลมระริ้วปลิวหญาคาระยาบ ๒. สนละเมียดเสียดยอดขึ้นกอดฟา
๓. ดอกหญายิ้มหวานหวานกับลานหญา ๔. แกวเอียงกลีบเคลียนํ้าคางอยางหงิมหงิม
๑๙. คําประพันธตอไปนี้มีลักษณะเดนในดานใด
“พาทีมีสติรั้ง รอคิด
รอบคอบชอบแลผิด กอนพรอง
คําพูดพางลิขิต เขียนรางเรียงแฮ
ฟงเสนาะตอง โสตทั้งหางภัย”
๑. สัมผัสสระ ๒. สัมผัสพยัญชนะ
๓. การหลากคํา ๔. การใชภาพพจน
๒๐. คําประพันธตอไปนี้มีลักษณะเดนในดานใด
“เดือนดาวในหาวหวง คือโดมดวงแหงสรวงศิลป
สองฟาลงมาดิน ทุกค่ำคืนชื่นแสงพราว”
๑. เสียงไพเราะ สื่ออารมณ ๒. ความมายกินใจสื่อภาพชัดเจน
๓. สื่อภาพชัดเจนเสียงไพเราะ ๔. สื่ออารมณความหมายกินใจ
๒๕. ขอความตอไปนี้แสดงคุณลักษณะของชาวนาตามขอใด (มี.ค. ๔๕)
“สีเขียวดุจความงามขจีของใบหญาเล็กๆนี่เองที่เปนความหวังของเขาและของชาวนาอีกหลายแสนคนสีเขียวดุจ
ความงามขจีของใบหญาเล็กๆนี่แหละตองการความอดทนและตอสูไมยนยอตองการหยาดเหงื่อและน้ำตากอนที่มันจะตอบ แทนรางวัลอันนาชื่นใจให”
๑. มีความหวัง ความผูกพัน และกลาเผชิญปญหา
๒. มีความบากบั่น ความอดทน และยืนหยัดสูปญหา
๓. มีความใฝฝน ความไมทอถอย และเผชิญความทุกข
๔. มีความพยายามความดิ้นรน และรอคอยผลอยางเชื่อมั่น
๒๖. คําประพันธตอไปนี้ไมแสดงคานิยมทีมีตอนักรบตามขอใด (มี.ค. ๔๕)
“สองฝายหาญใชขา คือสีหแกลวสีหกลา
ตอแกลวในกลาง สมรนา”
๑. นักรบตองดุรายเหี้ยมหาญ ๒. นักรบตองมีความสงาความ
๓. นักรบตองคลองแคลววองไว ๔. นักรบตองเปนคนไมหวาดหวั่น
๒๗. ขอใดใชกลวิธีการประพันธตางกับคําประพันธตอไปนี้ (ต.ค. ๔๕)
“โผตนนั้นผันตนไปตนโนน”
๑. เกลี้ยงสมกลมแสงแจมแจงเกลี้ยง 2. แสงเดือนสองดาวสกาวเดน
๓. ทั้งเลือดเรนทั้งเล็นไรงูใหญนอย 4. ตะวันจาระอาออนสะทอนจิต
๒๘. ขอใดไมปรากฏในคําประพันธเหลานี้ (ต.ค. ๔๕)
“เอามีดคร่ำตําอกเขาต้ำอัก เลือดทะลักหลวมทะลุตลอดสัน
นางกระเดือกเสือกดิ้นสิ้นชีวัน เลือดก็ดันดาษแดงดังแทงควาย”
๑. สี ๒. เสียง ๓. กลิ่น ๔. ภาพเคลื่อนไหว
ใชคําประพันธตอไปนี้ตอบคําถามขอ ๒๙ – ๓๐
“สรรแตหาญสารตัวเหี้ยมเทียมชางมารทานชางหมื่น ฟนโถมศึกฝกทนศรรอนงาสายรายงาเศียรเรียนเชิงสูรูชน สารรานบาแทงแรงบถอยรอยคชหนีรี่ขึ้นหนาขาศึกยลขนสยองรองบันเทิงเริงบุกทัพสรพพอลังการสารอลงกตบทจร คลาดบาทจรคลาดาพยุหะยืนดื่นพยุหยุทธดุจพสุธาพังดั่งพสุธาพกยกคชผายยายคชพล”
๒๙. คําประพันธขางตนใหความรูสึกเดนชัดที่สุดตามขอใด (ต.ค. ๔๕)
๑. ฮึกเหิม ๒. คึกคัก ๓. หวาดหวั่น ๔. สยดสยอง
๓๐. ขอใดเปนลักษณะเดนที่สุดของคําประพันธขางตน (ต.ค. ๔๕)
๑. การใชความเปรียบ ๒. การเลนคําพองเสียง
๓. การพรรณนาใหเห็นภาพ ๔. การเลนเสียงสัมผัส
๓๑. ขอใดเปนศิลปะการประพันธที่ไมปรากฏในคําประพันธตอไปนี้ (ต.ค. ๔๕)
“พรากหายใชพรากราง นิรันดรกาล
มีพรากมีพบพาน เพื่อนพอง
ชิงโศกโศกพาผลาญ เผาจิต
วันหนึ่งนั้นจักตอง กลับรายกลายดี”
๑. การซ้ำคํา ๒. การเลนคําพองเสียง
๓. การเลนคําตรงกันขาม ๔. การเลนเสียงสัมผัส
๓๒. ภาพพจนประเภทใดไมปรากฏในคําประพันธตอไปนี้ (ต.ค. ๔๕)
“ดูน้ำวิ่งกลิ้งเชี่ยวเปนเกลียวกลอก กลับกระฉอกฉาดฉัดฉวัดเฉวียน
บางพลุงพลุงวุงวนเหมือนกงเกวียน ดูเปลี่ยนเปลี่ยนควางควางเปนหวางวน”
๑. อุปมา ๒. อุปลักษณ
๓. บุคคลวัต ๔. การเลียนเสียงธรรมชาติ
๓๓. ขอใดไมใชความหมายของคําประพันธตอไปนี้ (ต.ค. ๔๕)
“ฉับฉวยชกฉกช้ำ ฉุบฉับ”
๑. ชกอยางฉวยโอกาส ๒. ชกอยางรวดเร็ว
๓. ชกอยางคลองแคลว ๔. ชกอยางเมามัน
๓๔. ขอใดเปนแนวคิดของคําประพันธตอไปนี้ (ต.ค. ๔๕)
“ไปฟงคนพูดฟุง ฟนเฝอ
เท็จและจริงจานเจือ คละเคลา
คือมีดเที่ยวกรีดเถือ ทานทั่วไปนา
ฟงจะพาพลอยเขา พวกเพอรังควาน”
๑. ควรฟงผูที่มีศิลปะในการพูด ๒. ควรมีวิจารณญาณในการฟง
๓. ไมควรทํารายผูอื่นดวยคําพูด ๔. ไมควรฟงคนที่พูดเพอเจอ
๓๕. ขอใดไมใชภาพพจนแบบบุคคลวัต (มี.ค. ๔๖)
๑. เมฆไหลลงหมเงื้อมผาชะโงก ๒. งามมานเงาไมโศกซับซอน
๓. ดอกหญาปาลมโบกผวาชอ ๔. ซาซาธาราฉะออนเรงรอนระหายฝน
๓๖. ขอใดมีการใชภาพพจน (มี.ค. ๔๖)
๑. คัคนานตนฤราสราง ราคิน
คือระเบียบรัตนอินทนิล คาดไว
๒. พระพึงพิเคราะหผู ภักดี ทานนา
คือพระยาจักรี กาจแกลว
๓. เกรงกระลับกอรงค รั่วหลา
คือใครจักคุมคง ควรคูเข็ญแฮ
๔. เพื่อพระเดโชชนะ ศึกน้ำ
คือองคอมิตรพระ จักมอดเมือเฮย
๓๗. ขอใดใชภาพพจนมากที่สุด (มี.ค. ๔๖)
๑. รฟูกถูกเนื้อวันทองออน เหมือนนอนตียงทองอันผองใส
เพลินฟงวังเวงเพลงเรไร พิณพาทยไพรกลอมขับสําหรับดง
๒. บัดนี้เห็นทวงทีกิริยาเจาก็เปลี่ยนแปลก เลหประหนึ่งพึ่งพาเปนแขกไมคุนเคย
ไฉนจึงแกลงนั่งเฉยใหเหินหาง เหมือนผูอื่นฉะนี้
๓. พันลึกลมลั่นฟา เฉกอสุนีผาหลา
แหลงเพี้ยงพกพัง แลนา
๔. ดาวระยับประดับฟาเพลานี้ เพชรราตรีสองสกาวณหาวหน
ประชันแสงวะวับวาวพราวสกนธ มิแผกคนแขงคาบารมี
๓๘. ขอใดใชกลวิธีการแตกตางจากขออื่น (มี.ค. ๔๖)
๑. เปรียบแรงคชสารปานกลจักร ผาผลักชักลากราวหยากไย
๒. ใหญเทียมภูผาทาดุดัน เรี่ยวแรงแข็งขยันเชื่อควาญตน
๓. งางอนออนชอยทุกรอยกลึง ดูประหนึ่งกรกรายนางรายรํา
๔. เหมือนมีชีวิตสถิตราง ซุงแกะเปนชางยางบาทได
๓๙.ขอใดแสดงแนวคิดที่ตรงกับคําประพันธตอไปนี้มากที่สุด ( มี.ค.๔๖ )
ชนใดมีชาติขา เลวทราม
เพียรอุตสาหพยายาม หมั่นหมั้น
อยูบดอยูฝนความ รูแกตนเฮย
กลับยศใหญยิ่งชั้น เชนเชื้อผูดี
๑.รูสิ่งใดไมสูรูวิชา รูรักษาตัวรอดเปนยอดดี
๒.ดูผิวพรรณสรรพางคอยางคุลา แตวิชาพางามขึ้นครามครัน
๓.อันความคิดวิทยาเหมือนอาวุธ ประเสริฐสุดซอนใสเสียในฝก
๔.ปากเปนเอกเลขเปนโท หนังสือตรีมีปญญาไมเสียหลาย
๔o.คําประพันธตอไปนี้กลาวถึงศิลปะของไทยในดานใด
“ แสงโสมแสงแกวสอง สุริยฉาย
อรามรัตนกุณฑลพราย พรางฟา
อุณหิสวิจิตรราย ปทมราช แลฤๅ
เจ็ดอุรุคเรียบหนา ผกเกลาเกลื่อนหงอน”
๑.การแตงกาย ๒.การวาดภาพ
๓.การแกะสลัก ๔.การกอสราง