วันอังคารที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2555

แบบทดสอบ

                                                         อสอบเรื่อง  สุนทรียภาพทางวรรณคดี
๑. ขอใดใชบรรยายโวหารที่มีอธิบายโวหารประกอบ                                              (มี.ค. ๔๓)
     ๑.    าเห็นดอกป บครั้งใดตองตรงเขาไปเก็บดอกที่รวงหลนปบสีขาวนี้เรียกวาปบฝรั่งสวนปบอีกชนิดหนึ่ง  ทางเหนือเรียกกวากาสะลอง
     ๒.    ฉันเดินหาซื้อบานจนไดบานขนาดกําลังพอดี มีที่ตั้งถูกใจตัวบานโอบลอมดวยเนินเขาเตี้ยๆมีหญาสีเขียวขจี
     ๓.    ลูกตะขบขนาดประมาณปลายนิ้วกอยลูกกลมๆปองๆผิวเตงเปลือกบางมี่รสหวานจัดขางในมีเมล็ดเล็กๆสี
             ขาวนวล
     ๔.    นมะมวงแผกิ่งกานสาขาใหเงารมรื่นแผครึ้มไปทั่วลานดิน เด็กๆนั่งเลนเปนกลุมๆใตตน
๒. มารยาทเรียบเสี่ยมสาร เสงี่ยมเงื่อนงามนอ                                              (มี.ค. ๔๓)
     บุคคลในขอใดมีลักษณะตรงกับคําประพันธขางตนมากที่สุด
     ๑.    นารินประพฤติงามทั้งกิริยาและวาจา               ๒.    กระถินเปนคนเรียบรอยสงบเสงี่ยมเจียมตัว
     ๓.    ทองสรอยมีกิริยาดีและมีวิธีพูดที่นาสนใจ      ๔.    เพียงดาวเปนคนสวยและเรียบรอย
๓. คําที่ขีดเสนใตขอใดไมใชภาพพจนนามมัย                                               (มี.ค. ๔๓)
     ๑. ถาแพลงคงปรับทับทวี                     เลือดเนื้อเทานี้เปนเงินทอง
     ๒. ยุงริ้นมันกินมาหลายวัน                  อุตสาหใหนองนั้นไดขี่มา
     ๓. ขุดเผือกมันสูกันมาตามจน               พักรอนผอนปรนมาในปา
     ๔. ถึงเมืองพอมีที่จะอยู                         ก็มาจูจากซ้ำน้ำตาตก
๔. ขอใดมีลักษณะเปนการเขียนแบบบรรยาย                                                     ( ต.ค. ๔๓)
     ๑. ฝนฟากระหน่ำพายุซ้ำกรรโชก                    ๒. แสนวิปโยคอนิจจาน้ำตาเอ
     ๓. ทุกสิ่งลวนไมเปนเหมือนเชนเคย                ๔. ตัวเราเอยแสนอาภัพอับปญญา
 ๕. ลักษณะการประพันธที่เดนที่สุดของขอความตอไปนี้คือขอใด                               ( ต.ค. ๔๓)
            จากความวุนวูวามสูความสวาง                      จากความมืดมาสวางอยางเฉิดฉัน
         จากความรอนระอุเปนเย็นนิรันดร                        ไมรูพลันพลิกเห็นเปนความรู
     ๑. การเลนเสียงสัมผัส                                       ๒. การซ้ำคําเพิ่มความหมาย
     ๓. การเลนคําหลายความหมาย                         ๔. การใชคําที่มีความหมายขัดแยงกัน
๖. คําประพันธตอไปนี้ขอใดมีวิธีการพรรณนาตางจากขออื่น                                 ( ต.ค. ๔๓ )
           ๑. พื้นผนังหลังบัวที่ฐานบัทม                   เปนครุฑอัดยืนเหยียบภุชงคขยํา
           ๒. หยิกขยุมกุมวาสุกรีกํา                         กินนรรํารายเทพประนมกร
           ๓. ใบระกาหนาบันบนชั้นมุข                  สุวรรณสุกเลื่อมแกวประภัสสร
           ๔. ดูยอดเยี่ยมเทียมยอดยุคนธร                กระจังซอนแซมใบระกาบัง
๗. คําประพันธตอไปนี้ใชภาพพจนตามขอใด                                                ( ต.ค. ๔๓ )
                  ฉันมองคลื่นรื่นเรเขาเหฝง                                พร่ำฝากฝงภักดีไมมีสมอง
               มองดาวเฟยมเยี่ยมพักตรลักษณลํายอง                  จากคันฉองชลาลัยใสสะอาง
           ๑. บุคคลวัตและอุปลักษณ                           ๒. สัญลักษณและอติพจน
          ๓. บุคคลวัตและสัญลักษณ                           ๔. อุปลักษณและอติพจน
 ๘. การพรรณนาเสียงในขอใดใหอารมณตางจากขออื่น                                          ( ต.ค. ๔๓ )
           ๑. เสียงสกุณารองกองกึกใหหวั่นหวาด
           ๒. เสียงชะนีรองอยูโหวยโวยโวยวิเวกวะหวามอก
           ๓. ทั้งพญาคชสารชาติฉันทันตทะลึ่งถลันรองวะแหวๆ
           ๔. ทั้งพญาพาฬมฤคราชเสือโครงคะครางครึ้มกระหึ่มเสียง
ใชคําประพันธตอไปนี้ตอบคําถามขอ ๙ ๑๐
      ก.   ถึงสามโคกโศกถวิลถึงปนเกลา                       พระพุทธเจาหลวงบํารุงซึ่งกรุงศรี
         ประทานนามสามโคกเปนเมืองตรี                                 ชื่อปทุมธานีเพราะมีบัว
      ข.  พฤกษาสวนลวนไดฤดูดอก                              ตระหงานงอกริมกระแสแลสลาง
         กลวยระกําอัมพาพฤกษาปราง                                    ตองน้ำคางชอชุมเปนพุมพวง
      ค.   ที่ทายบานศาลเจาของชาวบาน                        บวงสรวงศาลเจาผีบายศรีตั้ง
         เห็นคนทรงปลงจิตอนิจจัง                                      ใหคนทั้งปวงหลงลงอบาย
      ง.  ถึงบานงิ้วเห็นแตงิ้วละลิ่วสูง                      ไมมีฝูงสัตวสิงกิ่งพฤกษา
         วนหนามดกรกดาษระดะตา                                       นึกก็นากลัวหนามขามขามใจ
๙. คําประพันธในขอใดไมเปน กระจกสองภาพทางวัฒนธรรม                                           ( ต.ค. ๔๓ )
           ๑. ขอ ก                    ๒. ขอ ข                ๓. ขอ ค                     ๔. ข 
๑๐. ขอใดไมแสดงอารมณของผูประพันธ                                                            ( ต.ค. ๔๓ )
           ๑. ขอ ก                    ๒. ขอ ข                ๓. ขอ ค                     ๔. ขอ ง
๑๑. ขอใดไมใชการพรรณนาฉาก                                                                     ( ต.ค. ๔๓ )
          ๑. หลอนจะตองอยูที่นี่และตายบนธรณีผืนนี้
          ๒. รางทะมึนบึกบึนของเขาตัดเดนกับขอบฟาอันเวิ้งวาง
          ๓. เสียงหวีดของรถไฟกองกรีดขึ้นในความสงัดของราตรี
          ๔. ที่นี่คือนรกเต็มดวยความรอนแหงผากและฝุนบาๆ
๑๒. คําประพันธตอไปนี้ใชศิลปะการประพันธเดนที่สุดตามขอใด                                     ( มี.ค. ๔๔)
            แลถนัดในเบื้องหนาโนนก็เขาใหญยอดเยี่ยมโพยมอยางพยับเมฆมีพรรณเขียวขาวดําแดงดูดิเรกดั่ง
     รายรัตนนพมณีแนมนาใครชมครั้นแสงพระสุริยะสองระดมก็ดูเดนดังดวงดาววาวแวววะวาบๆที่เวิ้งวุ
     วิจิตรจํารัสจํารูญรุงเปนสีรุงพุงพนเพียงคัคนัมพรพื้นนภากาศ
          ๑. สัมผัสสระ                                           ๒. สัมผัสพยัญชนะ
          ๓. การใชคําอัพภาส                                 ๔. การหลากคํา
๑๓. ขอใดใชภาพพจนหลายชนิด                                                                     ( มี.ค. ๔๔)
          ๑. ธรรมชาติคือวิหาร                        ที่เสาตระการมีชีวา
            บางครั้งเอยวาจา                         อันลึกลับและสับสน
          ๒. โฉมสองเหมือนหยาดฟ                     ลงดิน
            งามเงื่อนอัปสรอินทร                     สูหล
          ๓. สูงระหงทรงเพรียวเรียวรูด                งามละมายคลายอูฐกะหลาป
            พิศแตหัวตลอดเทาขาวแตตา                ทั้งสองแกมกัลยาดังลูกยอ
          ๔. ณยามสายัณหตะวันยิ่งยอย                แนะเรงเทาหนอยทยอยเหยียบหนา
              ตะแลกแตกแตกจะแหลกแลวจา กระเดงรีบมาเถอะรับขาวไป
๑๔. ขอใดมีเนื้อหาของความเปรียบตางจากขออื่น                                                   ( มี.ค. ๔๔)
          ๑. แลวเทวัญวางจันทะวงศแอบ                ใหนอนแนบเคียงเขนยขนิษฐา
             พลางภิรมยชมสองกษัตรา                   ดังดาราวางเรียงไวเคียงกัน
          ๒. พิศพี่ผองเพียงสุริยฉัน                พิศนองเพียงจันทรสองปะทะรัศมี
          ๓. พิศไทไทวาไท                         ทินกร
              พิศออนคือศศิธร                        แจมฟ
          ๔. งามดังสุริยันมะลันตอน                   เคียงดวงศศิธรมะลอนฉู
              จะไหนวิไลกระตู                         สมสองครองคูจะลูเจ
๑๕.   คําประพันธตอไปนี้ใชภาพพจนตามขอใด
                     เมฆขาวหนาวเดือนดาว                       อมหาวหอมลอมจันทรหมอง
                 น้ำคางตกเนืองนอง                                   องน้ำตาบาซึมดิน
          ๑.  นามนัยและอติพจน                                 ๒.  อติพจนและบุคคลวัต
          ๓.  บุคคลวัตและนามนัย                                ๔.  อุปลักษณและอติพจน
๑๖.  ลักษณะการพูดของขอความตอไปนี้ตรงตามขอใดที่สุด
พระพุทธเจาขาซึ่งทรงพระกรุณาจะใหชาลีนี้ออกไปรับเสด็จเกลือกจะทรงเคลือบแคลงระแวงวาเปนความเท็จไมเชื่อฟงอันคําเด็กนี้หรือผูใหญใครจะหวังเอาเปนสัตยจริงเห็นพระปตุรงคจะทรงเกรงกริ่งจะไมคืนนคร
          ๑.  พูดใดพูดที่รูจริงจัง                                     ๒.  พูดเพราะไดตริตรอง รอบคอบ
          ๓.  พูดเพื่อมโนหวัง ประโยชน                         ๔.  พูดถูกใครจะตอบ คัดคานผิดเอง
๑๗.  อใดไมใชการกลาวเชิงเปรียบเทียบ
          ๑.  พระปนภพกุเรปนกรุงศรี                            ๒.  รํารายเปนกระบวนหวนหัน
          ๓.  วางกองเยื้องกันเปนฟนปลา                        ๔.  ไวเปนขาใตเบื้องบทมาลย
๑๘.  อใดใหกลวิธีการประพันธตางจากขออื่น
          ๑.  ลมระริ้วปลิวหญาคาระยาบ                                  ๒.  สนละเมียดเสียดยอดขึ้นกอดฟ
          ๓.  ดอกหญายิ้มหวานหวานกับลานหญา                    ๔.  แกวเอียงกลีบเคลียนํ้าคางอยางหงิมหงิม
๑๙.  คําประพันธตอไปนี้มีลักษณะเดนในดานใด
                      พาทีมีสติรั้ง                  รอคิด
           รอบคอบชอบแลผิด                   อนพรอง
           คําพูดพางลิขิต                            เขียนรางเรียงแฮ
           งเสนาะตอง                              โสตทั้งหางภัย
          ๑.  สัมผัสสระ                                        ๒.  สัมผัสพยัญชนะ
          ๓.  การหลากคํา                                       ๔.  การใชภาพพจน
๒๐.   คําประพันธตอไปนี้มีลักษณะเดนในดานใด
           เดือนดาวในหาวหวง                        คือโดมดวงแหงสรวงศิลป
           องฟาลงมาดิน                                 ทุกค่ำคืนชื่นแสงพราว
          ๑.  เสียงไพเราะ สื่ออารมณ                           ๒.  ความมายกินใจสื่อภาพชัดเจน
          ๓.  สื่อภาพชัดเจนเสียงไพเราะ                         ๔.  สื่ออารมณความหมายกินใจ
๒๕. ขอความตอไปนี้แสดงคุณลักษณะของชาวนาตามขอใด                                     (มี.ค. ๔๕)
    สีเขียวดุจความงามขจีของใบหญาเล็กๆนี่เองที่เปนความหวังของเขาและของชาวนาอีกหลายแสนคนสีเขียวดุจ
ความงามขจีของใบหญาเล็กๆนี่แหละตองการความอดทนและตอสูไมยนยอตองการหยาดเหงื่อและน้ำตากอนที่มันจะตอบ แทนรางวัลอันนาชื่นใจให
          ๑. มีความหวัง  ความผูกพัน             และกลาเผชิญปญหา
          ๒. มีความบากบั่น ความอดทน  และยืนหยัดสูปญหา
          ๓. มีความใฝฝน ความไมทอถอย และเผชิญความทุกข
          ๔. มีความพยายามความดิ้นรน             และรอคอยผลอยางเชื่อมั่น
๒๖. คําประพันธตอไปนี้ไมแสดงคานิยมทีมีตอนักรบตามขอใด                            (มี.ค. ๔๕)
                   สองฝายหาญใชข            คือสีหแกลวสีหกล
          อแกลวในกลาง                        สมรนา
          ๑. นักรบตองดุรายเหี้ยมหาญ           ๒. นักรบตองมีความสงาความ
          ๓. นักรบตองคลองแคลววองไว  ๔. นักรบตองเปนคนไมหวาดหวั่น
๒๗. ขอใดใชกลวิธีการประพันธตางกับคําประพันธตอไปนี้                              (ต.ค. ๔๕)
                             โผตนนั้นผันตนไปตนโน
          ๑. เกลี้ยงสมกลมแสงแจมแจงเกลี้ยง  2. แสงเดือนสองดาวสกาวเด
          ๓. ทั้งเลือดเรนทั้งเล็นไรงูใหญนอย  4. ตะวันจาระอาออนสะทอนจิต
๒๘. ขอใดไมปรากฏในคําประพันธเหลานี้                                               (ต.ค. ๔๕)
                   เอามีดคร่ำตําอกเขาต้ำอัก     เลือดทะลักหลวมทะลุตลอดสัน
                นางกระเดือกเสือกดิ้นสิ้นชีวัน เลือดก็ดันดาษแดงดังแทงควาย
          ๑. สี              ๒. เสียง           ๓. กลิ่น          ๔. ภาพเคลื่อนไหว
ใชคําประพันธตอไปนี้ตอบคําถามขอ  ๒๙ ๓๐
          สรรแตหาญสารตัวเหี้ยมเทียมชางมารทานชางหมื่น ฟนโถมศึกฝกทนศรรอนงาสายรายงาเศียรเรียนเชิงสูรูชน สารรานบาแทงแรงบถอยรอยคชหนีรี่ขึ้นหนาขาศึกยลขนสยองรองบันเทิงเริงบุกทัพสรพพอลังการสารอลงกตบทจร คลาดบาทจรคลาดาพยุหะยืนดื่นพยุหยุทธดุจพสุธาพังดั่งพสุธาพกยกคชผายยายคชพล
๒๙. คําประพันธขางตนใหความรูสึกเดนชัดที่สุดตามขอใด                             (ต.ค. ๔๕)
          ๑. ฮึกเหิม         ๒. คึกคัก          ๓. หวาดหวั่น  ๔. สยดสยอง
๓๐. ขอใดเปนลักษณะเดนที่สุดของคําประพันธขางตน                                             (ต.ค. ๔๕)
          ๑. การใชความเปรียบ                        ๒. การเลนคําพองเสียง
           ๓. การพรรณนาใหเห็นภาพ                    ๔. การเลนเสียงสัมผัส
๓๑. ขอใดเปนศิลปะการประพันธที่ไมปรากฏในคําประพันธตอไปนี้                                  (ต.ค. ๔๕)
                     พรากหายใชพรากราง           นิรันดรกาล
           มีพรากมีพบพาน                              เพื่อนพอง
           ชิงโศกโศกพาผลาญ                           เผาจิต
           วันหนึ่งนั้นจักตอง                              กลับรายกลายดี
           ๑. การซ้ำคํา                             ๒. การเลนคําพองเสียง
           ๓. การเลนคําตรงกันขาม                   ๔. การเลนเสียงสัมผัส
๓๒. ภาพพจนประเภทใดไมปรากฏในคําประพันธตอไปนี้                                               (ต.ค. ๔๕)
                 ดูน้ำวิ่งกลิ้งเชี่ยวเปนเกลียวกลอก               กลับกระฉอกฉาดฉัดฉวัดเฉวียน
            างพลุงพลุงวุงวนเหมือนกงเกวียน                 ดูเปลี่ยนเปลี่ยนควางควางเปนหวางวน
           ๑. อุปมา                                  ๒. อุปลักษณ
           ๓. บุคคลวัต                               ๔. การเลียนเสียงธรรมชาติ
๓๓. ขอใดไมใชความหมายของคําประพันธตอไปนี้                                                  (ต.ค. ๔๕)
                                 ฉับฉวยชกฉกช้ำ         ฉุบฉับ
           ๑. ชกอยางฉวยโอกาส                        ๒. ชกอยางรวดเร็ว
           ๓. ชกอยางคลองแคล                      ๔. ชกอยางเมามัน
๓๔. ขอใดเปนแนวคิดของคําประพันธตอไปนี้                                                      (ต.ค. ๔๕)
                     ไปฟงคนพูดฟุ                  นเฝอ
          เท็จและจริงจานเจือ                          คละเคล
           คือมีดเที่ยวกรีดเถือ                         านทั่วไปนา
           งจะพาพลอยเขา                           พวกเพอรังควาน
           ๑. ควรฟงผูที่มีศิลปะในการพูด            ๒. ควรมีวิจารณญาณในการฟ
           ๓. ไมควรทํารายผูอื่นดวยคําพูด           ๔. ไมควรฟงคนที่พูดเพอเจอ
๓๕. ขอใดไมใชภาพพจนแบบบุคคลวัต                                                              (มี.ค. ๔๖)
           ๑. เมฆไหลลงหมเงื้อมผาชะโงก              ๒. งามมานเงาไมโศกซับซอน
           ๓. ดอกหญาปาลมโบกผวาชอ                  ๔. ซาซาธาราฉะออนเรงรอนระหายฝน
๓๖. ขอใดมีการใชภาพพจน                                                                          (มี.ค. ๔๖)
           ๑.         คัคนานตนฤราสราง               ราคิน
                 คือระเบียบรัตนอินทนิล                คาดไว
           ๒.         พระพึงพิเคราะหผู              ภักดี ทานนา
                คือพระยาจักรี                              กาจแกล
           ๓.         เกรงกระลับกอรงค               รั่วหล
                คือใครจักคุมคง                            ควรคูเข็ญแฮ
           ๔.         เพื่อพระเดโชชนะ                 ศึกน้ำ
                คือองคอมิตรพระ                         จักมอดเมือเฮย
๓๗. ขอใดใชภาพพจนมากที่สุด                                                                      (มี.ค. ๔๖)
           ๑.   ฟูกถูกเนื้อวันทองออน                                     เหมือนนอนตียงทองอันผองใส
                  เพลินฟงวังเวงเพลงเรไร                                    พิณพาทยไพรกลอมขับสําหรับดง
           ๒.  บัดนี้เห็นทวงทีกิริยาเจาก็เปลี่ยนแปลก               เลหประหนึ่งพึ่งพาเปนแขกไมคุนเคย
                  ไฉนจึงแกลงนั่งเฉยใหเหินหาง                           เหมือนผูอื่นฉะนี้
           ๓.    พันลึกลมลั่นฟา                    เฉกอสุนีผาหลา
                   แหลงเพี้ยงพกพัง                  แลนา
           ๔.   ดาวระยับประดับฟาเพลานี้                              เพชรราตรีสองสกาวณหาวหน
                  ประชันแสงวะวับวาวพราวสกนธ                    มิแผกคนแขงคาบารมี
๓๘. ขอใดใชกลวิธีการแตกตางจากขออื่น                                                            (มี.ค. ๔๖)
           ๑. เปรียบแรงคชสารปานกลจักร  ผาผลักชักลากราวหยากไย
           ๒. ใหญเทียมภูผาทาดุดัน                   เรี่ยวแรงแข็งขยันเชื่อควาญตน
           ๓. งางอนออนชอยทุกรอยกลึง                 ดูประหนึ่งกรกรายนางรายรํา
           ๔. เหมือนมีชีวิตสถิตราง                   ซุงแกะเปนชางยางบาทได
๓๙.ขอใดแสดงแนวคิดที่ตรงกับคําประพันธตอไปนี้มากที่สุด                                           ( มี.ค.๔๖ )
                       ชนใดมีชาติข                       เลวทราม
               เพียรอุตสาหพยายาม                    หมั่นหมั้น
               อยูบดอยูฝนความ                         รูแกตนเฮย
               กลับยศใหญยิ่งชั้น                        เชนเชื้อผูดี
           ๑.รูสิ่งใดไมสูรูวิชา                                               รูรักษาตัวรอดเปนยอดดี
           ๒.ดูผิวพรรณสรรพางคอยางคุลา                          แตวิชาพางามขึ้นครามครัน
           ๓.อันความคิดวิทยาเหมือนอาวุธ                          ประเสริฐสุดซอนใสเสียในฝ
           ๔.ปากเปนเอกเลขเปนโท                                     หนังสือตรีมีปญญาไมเสียหลาย
o.คําประพันธตอไปนี้กลาวถึงศิลปะของไทยในดานใด
              แสงโสมแสงแกวสอง  สุริยฉาย
          อรามรัตนกุณฑลพราย              พรางฟ
           อุณหิสวิจิตรราย               ทมราช แลฤๅ
           เจ็ดอุรุคเรียบหน            ผกเกลาเกลื่อนหงอน
         ๑.การแตงกาย                          ๒.การวาดภาพ
         ๓.การแกะสลัก                         ๔.การกอสราง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น